วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง


 บทที่ ๒

 อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

                      อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของช... อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

เรื่อง นิราศนริทร์คำโคลง

ความเป็นมา
      นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๑.๑ ลักษณะของนิราศ

      พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ อธิบายว่า นิราศหมายถึง .เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปใน...อ่านเพิ่มเติม

เรื่อง นิทานเวตาล(เรื่องที่10)

ความเป็นมา
                นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ

                  ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน  ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลงเป็นสำนวนภาษาของตนเองให้คนอังกฤษอ่าน แต่ไม่ครบทั้ง 25 เรื่อง...อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการคุณานุคุณ

      คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้...อ่านเพิ่มเติม

การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง

การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง  มีหลักอยู่    ประการ    คือ
๑. พัฒนาตนเองด้านความรู้
๒. พัฒนาตนเองด้านอารมณ์
๓. พัฒนาตนเองด้านคุณธรรม
การอ่านเพื่อพัฒนาความรู้        แบ่งออกเป็น
๑. ความรู้ทั่วไปหรือความรู้รอบตัว
๒. ความรู้เฉพาะ (คือความรู้ที่เกี่ยวกับอาชีพของตน)

ไม่ว่าจะเป็นการอ่านเกี่ยวกับคอ่านเพิ่มเติม

การย่อความ

            คือ การจับใจความสำคัญ จับประเด็นสำคัญของเรื่องที่ได้อ่าน ได้ฟังหรือได้ดูมาอย่างย่อๆแล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ให้ได้ความครบถ้วน สั้น กระชับ ด้วยสำนวนภาษาของตนเอง...อ่านเพิ่มเติม

การสื่อสารผ่านจดหมาย

การเขียนจดหมาย
          การเขียนจดหมายเป็นวิธีสื่อสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรแทนการพูด  ถึงแม้ในปัจจุบันเทคโนโลยีสื่อสารมีให้เลือกสื่อสารได้หลายช่องทาง  แต่จดหมายก็ยังมีความจำเป็นอยู่มาก
          ประเภทของจดหมาย   แบ่งออกเป็น 4 ประเภท  ดังนี้
          1.  จดหมายส่วนตัว  เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อระหว่างบุคคลที่คุ้นเคยกัน  อาจเป็นญาติสนิท  ครู  อาจารย์  เพื่อไต่...อ่านเพิ่มเติม

การพูดขั้นพื้นฐาน

ความรู้พื้นฐานในการพูด

            เพื่อให้การพูดประสบความสาเร็จ ผู้พูดควรมีความรู้พื้นฐานในการพูด 
ดังต่อไปนี้ ประเภทของการพูด
            ประเภทของการพูดแบ่งตามลักษณะการพูดได้ 2 ประเภท ดังนี้
1.       การพูดอย่างไม่เป็นทางการ คือ การพูดในชีวิตประจำวัน เช่น 
การสนทนา การพูดโทรศัพท์
2.       การแนะนำตัว การซักถาม การตอบ...อ่านเพิ่มเติม

การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง

การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง
1. สร้างความสนใจและความต้องการที่จะฟัง ผู้ฟังที่ดีต้องให้ความสนใจกับเรื่องที่ฟังแม้ว่าเรื่องที่ฟังจะ ไม่ตรงกับความสนใจของตนเองก็ตาม ผู้ฟังต้องรู้หัวข้อเรื่องรวมทั้งจุดประสงค์ว่าฟังเพื่ออะไร
2. ฟังด้วยความตั้งใจ เป็นการฟังอย่างมีสมาธิ จิตใจจดจ่อกับเรื่องที่ฟัง
3. จับใจความสำคัญของเรื่องและคิดวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องราวที่ฟัง

   1. จับใจความให้ได้ว่า เ...อ่านเพิ่มเติม

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

"ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร"
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร
      1. ความหมายของการสื่อสาร 
      2. ความสำคัญของการสื่อสาร 
      3.  องค์ประกอบของการ สื่อสาร 
      4.  หลักในการสื่อสาร
      5.  วัตถุประสงค์ในก...อ่านเพิ่มเติม

เรื่องพื้นฐานความรู้ทางการสื่อสาร

ความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสาร

การสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต  มนุษย์จำเป็นต้องติดต่อสื่อสารกันอยู่ตลอดเวลา  การสื่อสารจึงเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งนอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์  การสื่อสารมีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์มาก   
การสื่อสารมีความสำคัญอย่างยิ่งในปัจ...อ่านเพิ่มเติม